เมนู

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-
ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ฯลฯ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

4. อนันตรปัจจัย


[624] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ 2)
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ-
ฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 3)
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
4. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 5)
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงกระทำมูล (วาระที่ 6)
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย,
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
7. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 8)
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 9)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

5. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

มี 9 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี 6วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[625] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ใน 2 อย่างที่เหลือ เป็นอนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
พึงกระทำมูล (วาระที่ 2)